หอมแผ่นดิน ตอน...เพียงพอใจ หอมแผ่นดิน ตอน...เพียงพอใจ ออกอากาศวันอาทิตย์ที่ 11 ม.ค. 2558 สวนพุทราสามรสปลอดสารพิษ 4 ไร่ ของ เป็ง ศรีสุข อ.สว่างวีระวงศ์ จ.อุบลราชธานี เกิดขึ้นได้จากการสุขที่เพียงพอใจ
วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558
เศรษกิจพอเพียง
วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2558
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา ความพอเพียงหมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และต้องประกอบไปด้วยสองเงื่อนไข คือ เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
แผนภูมิ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คลิ๊กที่รูปเพื่อดูภาพใหญ่
นั่นคือ หลักแนวคิด และแนวทางเพื่อการปฏิบัติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งไม่ว่าจะเป็นบุคคล หรือองค์กรต่างๆ สามารถปฏิบัติตามได้
http://xn--12cmc4a2ea2ac8bl2czera7lj.net/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.html
แผนภูมิ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
คลิ๊กที่รูปเพื่อดูภาพใหญ่
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 ส่วน ดังนี้
ข้อที่ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา
ข้อที่ 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
ข้อที่ 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
ข้อที่ 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และความยั่งยืนของการพัฒนา
ข้อที่ 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
ข้อที่ 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
- ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่นการผลติ และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
- ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่างรอบคอบ
- การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล
ข้อที่ 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน 2 เงื่อนไข ดังนี้
- เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ
- เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต
นั่นคือ หลักแนวคิด และแนวทางเพื่อการปฏิบัติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งไม่ว่าจะเป็นบุคคล หรือองค์กรต่างๆ สามารถปฏิบัติตามได้
http://xn--12cmc4a2ea2ac8bl2czera7lj.net/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.html
วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2558
ชนิดของซอฟต์แวร์
ความ |
ซอฟท์แวร์ |
ชนิด |
-
- ซอฟต์แวร์ระบบ
คือ ซอฟต์แวร์ที่ บริษัท ผู้ ผลิต สร้าง ขึ้น มา เพื่อ ใช้ จัด การกับระบบ หน้า ที่ การ ทำ งาน ของ ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำ เนิน งาน พื้น ฐาน ต่าง ๆ ของ ระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น รับ ข้อ มูล จาก แผง แป้น อักขระ แล้ว แปล ความ หมาย ให้ คอมพิวเตอร์ เข้า ใจ นำ ข้อ มูล ไป แสดง ผล บน จอ ภาพ หรือ นำ ออก ไป ยังเครื่องพิมพ์ จัด การ ข้อ มูล ใน ระบบ แฟ้ม ข้อ มูล บน หน่วย ความ จำ รอง - เมื่อ
เรา เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทัน ที ที่ มี การ จ่าย กระแส ไฟ ฟ้า ให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ จะ ทำ งาน ตาม โปรแกรม ทัน ที โปรแกรม แรก ที่ สั่ง คอมพิวเตอร์ ทำ งาน นี้ เป็น ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ อาจ เก็บ ไว้ ใน รอม หรือ ใน แผ่น จาน แม่ เหล็ก หาก ไม่ มี ซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์ จะ ทำ งาน ไม่ ได้ - ซอฟต์แวร์ระบบ
ยัง ใช้ เป็นเครื่องมือ ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อื่น ๆ และ ยัง รวม ไป ถึง ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ ใน การ แปล ภาษา ต่าง ๆ - ซอฟต์แวร์ประยุกต์
เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้กับงาน ด้าน ต่าง ๆ ตาม ความ ต้อง การ ของ ผู้ ใช้ ที่ สามารถ นำ มา ใช้ ประ โยชน์ ได้ โดย ตรง ปัจจุบัน มี ผู้ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน ทางด้าน ต่าง ๆ ออก จำหน่าย มาก การ ประยุกต์ งาน คอมพิวเตอร์ จึง กว้าง ขวาง และ แพร่ หลาย เรา อาจ แบ่ง ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ออก เป็น สอง กลุ่ม คือ ซอฟต์แวร์สำเร็จ และ ซอฟต์แวร์ที่ พัฒนา ขึ้น ใช้ งาน เฉพาะ ซอฟต์แวร์สำเร็จ ใน ปัจจุบัน มี มาก มาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวล คำ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ฯล ฯ - ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟท์แวร์ |
-
- ใช้
ใน การ จัด การ หน่วย รับ เข้า และ หน่วย ส่ง ออก เช่น รับ การ กด แป้น ต่าง ๆ บน แผง แป้น อักขระ ส่ง รหัส ตัว อักษร ออก ทางจอ ภาพ หรือเครื่องพิมพ์ ติด ต่อกับอุปกรณ์ รับ เข้า และ ส่ง ออก อื่น ๆ เช่น เมาส์ อุปกรณ์ สังเคราะห์ เสียง - ใช้
ใน การ จัด การ หน่วย ความ จำ เพื่อ นำ ข้อ มูล จาก แผ่น บัน ทึก มา บรรจุ ยัง หน่วย ความ จำ หลัก หรือ ใน ทำนอง กลับ กัน คือ นำ ข้อ มูล จาก หน่วย ความ จำ หลัก มา เก็บ ไว้ ใน แผ่น บัน ทึก - ใช้
เป็น ตัว เชื่อม ต่อ ระหว่าง ผู้ ใช้ งานกับคอมพิวเตอร์ สามารถ ใช้ งาน ได้ ง่ายขึ้น เช่น การ ขอ ดู ราย การ สารบบ ใน แผ่น บัน ทึก การ ทำ สำเนา แฟ้ม ข้อ มูล - ใช้
- ระบบ
ปฏิบัติ การ - ระบบ
ปฏิบัติ การ หรือ ที่ เรียก ย่อ ๆ ว่า โอ เอส (Operating System : OS) เป็น ซอฟต์แวร์ใช้ ใน การ ดู แล ระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะ ต้อง มี ซอฟต์แวร์ระบบ ปฏิบัติ การ นี้ ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ นิยม ใช้ กัน มาก และ เป็น ที่ รู้ จัก กัน ดี เช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์ (Windows) โอ เอสทู (OS/2) ยูนิกซ์ (UNIX) - 1) ดอส
เป็น ซอฟต์แวร์จัด ระบบ งาน ที่ พัฒนา มา นาน แล้ว การ ใช้ งาน จึง ใช้ คำ สั่ง เป็น ตัว อักษร ดอสเป็น ซอฟต์แวร์ที่ รู้ จัก กัน ดี ใน หมู่ ผู้ ใช้ ไมโคร คอมพิวเตอร์ - 2) วินโดวส์ เป็น
ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ พัฒนา ต่อ จากดอส เพื่อ เน้น การ ใช้ งาน ที่ ง่ายขึ้น สามารถ ทำ งาน หลาย งาน พร้อม กัน ได้ โดย งาน แต่ ละ งาน จะ อยู่ ใน กรอบ ช่อง หน้า ต่าง ที่ แสดง ผล บน จอ ภาพ การ ใช้ งาน เน้น รูป แบ บก รา ฟิก ผู้ ใช้ งาน สามารถ ใช้ เมาส์เลื่อน ตัว ชี้ ตำแหน่ง เพื่อ เลือก ตำแหน่ง ที่ปรากฏบน จอ ภาพ ทำ ให้ ใช้ งาน คอมพิวเตอร์ ได้ ง่าย วินโดวส์จึง ได้ รับ ความ นิยม ใน ปัจจุบัน - 3) โอ
เอสทู เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ แบบ เดียวกับวินโดว์ส แต่ บริษัท ผู้ พัฒนา คือ บริษัท ไอบีเอ็ม เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ ให้ ผู้ ใช้ สามารถ ใช้ ทำ งาน ได้ หลาย งาน พร้อม กัน และ การ ใช้ งาน ก็ เป็น แบ บก รา ฟิก เช่น เดียวกับวินโดวส ์ - 4) ยูนิกซ์
เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ พัฒนา มา ตั้ง แต่ ครั้ง ใช้กับเครื่องมิ นิ คอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติ การยูนิกซ์เป็น ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ สามารถ ใช้ งาน ได้ หลาย งาน พร้อม กัน และ ทำ งาน ได้ หลาย ๆ งาน ใน เวลา เดียว กัน ยูนิกซ์จึง ใช้ ได้กับเครื่องที่ เชื่อม โยง และ ต่อกับเครื่อปลาย ทางได้ หลายเครื่องพร้อม กัน - ระบบ
ปฏิบัติ การ ยัง มี อีก มาก โดย เฉพาะ ระบบ ปฏิบัติ การ ที่ ใช้ ใน เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ เพื่อ ให้ คอมพิวเตอร์ ทำ งาน ร่วม กัน เป็น ระบบ เช่น ระบบ ปฏิบัติ การเน็ตแวร์ วินโดว์สเอ็น ที
- ตัว
แปล ภาษา - ใน
การ พัฒนา ซอฟต์แวร์จำ เป็น ต้อง มี ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ ใน การ แปล ภาษา ระดับ สูง เพื่อ แปล ภาษา ระดับ สูง ให้ เป็น ภาษาเครื่อง ภาษา ระดับ สูง มี หลาย ภาษา ภาษา ระดับ สูง เหล่า นี้ สร้าง ขึ้น เพื่อ ให้ ผู้ เขียน โปรแกรม เขียน ชุด คำ สั่ง ได้ ง่าย เข้า ใจ ได้ ตลอด จน ถึง สามารถ ปรับ ปรุง แก้ ไข ซอฟต์แวร์ใน ภาย หลัง ได้ - ภาษา
ระดับ สูง ที่ พัฒนา ขึ้น มา ทุก ภาษา จะ ต้อง มี ตัว แปล ภาษา สำหรับ แปล ภาษา ภาษา ระดับ สูง ซึ่ง เป็น ที่ รู้ จัก และ นิยม กัน มาก ใน ปัจจุบัน เช่น ภาษา ปาสคาล ภาษาเบสิก ภาษา ซี และ ภาษาโลโก - 1) ภาษา
ปาสคาล เป็น ภาษา สั่ง งาน คอมพิวเตอร์ ที่ มี รูป แบบ เป็น โครง สร้าง เขียน สั่ง งาน คอมพิวเตอร์ เป็น กระบวน ความ ผู้ เขียน สามารถ แบ่ง แยก งาน ออก เป็น ชิ้น เล็ก ๆ แล้ว มา รวม กัน เป็น โปรแกรม ขนาด ใหญ่ ได้ - 2) ภาษาเบสิก
เป็น ภาษา ที่ มี รูป แบบ คำ สั่ง ไม่ ยุ่ง ยาก สามารถ เรียน รู้ และ เข้า ใจ ได้ ง่าย มี รูป แบบ คำ สั่ง พื้น ฐาน ที่ สามารถ นำ มา เขียน เรียง ต่อ กัน เป็น โปรแกรม ได้ - 3) ภาษาซ
ี เป็น ภาษา ที่ เหมาะ สำหรับ ใช้ ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อื่น ๆ ภาษา ซี เป็น ภาษา ที่ มี โครง สร้าง คล่อง ตัว สำหรับ การ เขียน โปรแกรม หรือ ให้ คอมพิวเตอร์ ติดต ่อกับอุปกรณ์ ต่าง ๆ - 4) ภาษาโลโก
เป็น ภาษา ที่ เหมาะ สำหรับ การ เรียน รู้ และ เข้า ใจ หลัก การ โปรแกรม ภาษาโลโก ได้ รับ การ พัฒนา สำ หรับ เด็ก - นอก
จาก ภาษา ที่ กล่าว ถึง แล้ว ยัง มี ภาษา คอมพิวเตอร์ ที่ ใช้ กัน อยู่ ใน ปัจจุบัน อีก มาก มาย หลาย ภาษา เช่น ภาษาฟอร์แทรน ภาษา โค บอล ภาษา อาร์พีจ ี - ระบบ
ซอฟท์แวร์ |
- ซอฟต์แวร์สำเร็จ
- ใน
บรรดา ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ที่ มี ใช้ กัน ทั่ว ไป ซอฟต์แวร์สำเร็จ (package) เป็น ซอฟต์แวร์ที่ มี ความ นิยม ใช้ กัน สูง มาก ซอฟต์แวร์สำเร็จ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ บริษัท พัฒนา ขึ้น แล้ว นำ ออก มา จำหน่าย เพื่อ ให้ ผู้ ใช้ งาน ซื้อ ไป ใช้ ได้ โดย ตรง ไม่ ต้อง เสีย เวลา ใน การ พัฒนา ซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สำเร็จ ที่ มี จำหน่าย ใน ท้อง ตลาด ทั่ว ไป และ เป็น ที่ นิยม ของ ผู้ ใช้ มี 5 กลุ่ม ใหญ่ ได้ แก่ ซอฟต์แวร์ประมวล คำ (word processing software) ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล (data base management software) ซอฟต์แวร์นำ เสนอ (presentation software) และ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล (data communication software) - 1) ซอฟต์แวร์ประมวล
คำ เป็น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ใช้ สำหรับ การ พิมพ์ เอก สาร สามารถ แก้ ไข เพิ่ม แทรก ลบ และ จัด รูป แบบ เอก สาร ได้ อย่าง ดี เอก สาร ที่ พิมพ์ ไว้ จัด เป็น แฟ้ม ข้อ มูล เรียก มา พิมพ์ หรือ แก้ ไข ใหม่ ได้ การ พิมพ์ ออก ทางเครื่องพิมพ์ ก็ มี รูป แบบ ตัว อักษร ให้ เลือก หลาย รูป แบบ เอก สาร จึง ดู เรียบ ร้อย สวย งาม ปัจจุบัน มี การ เพิ่ม ขีด ความ สามารถ ของ ซอฟต์แวร์ประมวล คำ อีก มาก มาย ซอฟต์แวร์ประมวล คำ ที่ นิยม อยู่ ใน ปัจจุบัน เช่น วินส์เวิร์ด จุฬา จารึก โลตัสเอ มิ โป ร - 2) ซอฟต์แวร์ตา
ราง ทำ งาน เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ช่วย ใน การ คิด คำนวณ การ ทำ งาน ของ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ใช้ หลัก การ เสมือน มี โต๊ะ ทำ งาน ที่ มี กระดาษ ขนาด ใหญ่ วาง ไว้ มีเครื่องมือ คล้าย ปากกา ยาง ลบ และเครื่องคำนวณ เตรียม ไว้ ให้ เสร็จ บน กระดาษ มี ช่อง ให้ ใส่ ตัว เลข ข้อ ความ หรือ สูตร สามารถ สั่ง ให้ คำนวณ ตาม สูตร หรือ เงื่อน ไข ที่ กำหนด ผู้ ใช้ ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน สามารถ ประยุกต์ ใช้ งาน ประมวล ผล ตัว เลข อื่น ๆ ได้ กว้าง ขวาง ซอฟต์แวร์ตา ราง ทำ งาน ที่ นิยม ใช้ เช่น เอก เซล โลตั ส - 3) ซอฟต์แวร์จัด
การ ฐาน ข้อ มูล การ ใช้ คอมพิวเตอร์ อย่าง หนึ่ง คือ การ ใช้ เก็บ ข้อ มูล และ จัด การกับข้อ มูล ที่ จัด เก็บ ใน คอมพิวเตอร์ จึง จำ เป็น ต้อง มี ซอฟต์แวร์จัด การ ข้อ มูล การ รวบ รวม ข้อ มูล หลาย ๆ เรื่อง ที่ เกี่ยว ข้อง กัน ไว้ ใน คอมพิวเตอร์ เรา ก็ เรียก ว่า ฐาน ข้อ มูล ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล จึง หมาย ถึง ซอฟต์แวร์ที่ ช่วย ใน การ เก็บ การ เรียก ค้น มา ใช้ งาน การ ทำ ราย งาน การ สรุป ผล จาก ข้อ มูล ซอฟต์แวร์จัด การ ฐาน ข้อ มูล ที่ นิยม ใช้ เช่น เอก เซส ดี เบส พา ราด็อก ฟ๊อก เบส - 4) ซอฟต์แวร์นำ
เสนอ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ สำหรับ นำ เสนอ ข้อ มูล การ แสดง ผล ต้อง สามารถ ดึง ดูด ความ สน ใจ ซอฟต์แวร์เหล่า นี้ จึง เป็น ซอฟต์แวร์ที่ นอก จาก สามารถ แสดง ข้อ ความ ใน ลักษณะ ที่ จะ สื่อ ความ หมาย ได้ ง่ายแล้ว จะ ต้อง สร้าง แผน ภูมิ กราฟ และ รูป ภาพ ได้ ตัว อย่าง ของ ซอฟต์แวร์นำ เสนอ เช่น เพาเวอร์พอยต์ โลตัสฟรี แลนซ์ ฮาร์วาร์ดก รา ฟิก - 5) ซอฟต์แวร์สื่อ
สาร ข้อ มูล ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล นี้ หมาย ถึง ซอฟต์แวร์ที่ จะ ช่วย ให้ ไมโคร คอมพิวเตอร์ ติด ต่อ สื่อ สารกับเครื่องคอมพิวเตอร์ อื่น ใน ที่ ห่าง ไกล โดย ผ่าน ทางสาย โทรศัพท์ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ใช้ เชื่อม โยง ต่อ เข้ากับระบบ เครือ ข่าย คอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำ ให้ สามารถ ใช้ บริการ อื่น ๆ เพิ่ม เติม ได้ สามารถ ใช้ รับ ส่ง ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ ใช้ โอน ย้าย แฟ้ม ข้อ มูล ใช้ แลก เปลี่ยน ข้อ มูล อ่าน ข่าว สาร นอก จาก นี้ ยัง ใช้ ใน การ เชื่อม เข้า หา มิ นิ คอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรม เพื่อ เรียก ใช้ งาน จากเครื่องเหล่า นั้น ได้ ซอฟต์แวร์สื่อ สาร ข้อ มูล ที่ นิยม มี มาก มาย หลาย ซอฟต์แวร์ เช่น โปรคอม ครอสทอล์ค เท ลิ ก
- ซอฟต์แวร์ใช้
งาน เฉพาะ - การ
ประยุกต์ ใช้ งาน ด้วย ซอฟต์แวร์สำเร็จ มัก จะ เน้น การ ใช้ งาน ทั่ว ไป แต่ อาจ จะ นำ มา ประยุกต์ โดย ตรงกับงาน ทางธุรกิจ บาง อย่าง ไม่ ได้ เช่น ใน กิจ การ ธนาคาร มี การ ฝาก ถอน เงิน งาน ทางด้าน บัญชี หรือ ใน ห้าง สรรพ สิน ค้า ก็ มี งาน การ ขาย สิน ค้า การ ออก ใบ เสร็จ รับ เงิน การ ควบ คุม สิน ค้า คง คลัง ดัง นั้น จึง ต้อง มี การ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ สำหรับ งาน แต่ ละ ประเภท ให้ ตรงกับความ ต้อ งการ ของ ผู้ ใช้ แต่ ละ ราย - ซอฟต์แวร์ใช้
งาน เฉพาะ มัก เป็น ซอฟต์แวร์ที่ ผู้ พัฒนา ต้อง เข้า ไป ศึกษา รูป แบบ การ ทำ งาน หรือ ความ ต้อง การ ของ ธุรกิจ นั้น ๆ แล้ว จัด ทำ ขึ้น โดย ทั่ว ไป จะ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ มี หลาย ส่วน รวม กัน เพื่อ ร่วม กัน ทำ งาน ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ ที่ ใช้ กัน ใน ทางธุรกิจ เช่น ระบบ งาน ทางด้าน บัญชี ระบบ งาน จัด จำหน่าย ระบบ งาน ใน โรง งาน อุตสาหกรรม บริหาร การ เงิน และ การเช่าซื้อ - ความ
ต้อง การ ของ การ ใช้ คอมพิวเตอร์ ใน งาน ทางธุรกิจ ยัง มี อีก มาก ดัง นั้น จึง ต้อง มี ความ ต้อง การ ผู้ พัฒนา ซอฟต์แวร์เพื่อ พัฒนา ซอฟต์แวร์ใช้ งาน เฉพาะ ต่าง ๆ อีก มาก มาย - ใน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)